ได้แก่ ภาษา จีน

โปรโมชั่นปีใหม่ ทดลองเรียนออนไลน์ ทำไมต้องเรียนภาษาจีน? ภาษาที่ใช้ในวงกว้าง คนจำนวนมากกว่า 1 ใน 4 ของประชากรโลกทั้งหมดหรือประมาณ 1.

ได้แก่ ภาษาจีน

ได้แก่ ภาษาจีน

ศูนย์ภาษา DILA – ศูนย์ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย

พยางค์เสริมท้ายด้วยเสียง er พยางค์เสริมท้ายด้วยเสียง er หมายถึง พยางค์ที่เกิดจากการเพิ่มเสียง er(-r) ต่อข้างท้ายเสียงสระ ในภาษาจีนกลางมีคำจำนวนมากที่มีการเสริมท้ายด้วยเสียง er cr:

3 แบบเชื่อมต่อ ใช้วลีหรือประโยคสมดุลที่โครงสร้างเหมือนหรือคล้ายกัน เชื่อมต่อกันโดยใช้คำท้ายของส่วนหน้าเป็นคำต้นของส่วนหลัง เช่น 好手不 敌双拳, 双拳 难敌四手 ( มือดีไม่สู้สองหมัด สองหมัดยากจะสู้สี่มือ: อย่าเอาไม้ซีกไปงัดไม้ซุง) 2. 4 แบบสมมาตร ใช้การสลับลำดับหน้าหลังของวลีหรือประโยคให้มีโครงสร้างสมมาตร เช่น 人人 为我, 我 为人人 ( ทุกคนเพื่อฉัน ฉันเพื่อทุกคน: พึ่งพาอาศัยกัน) 泥和水, 水和泥 ( โคลนเข้ากับน้ำ น้ำเข้ากับโคลน: รวมกันเป็นหนึ่งเดียว)

การแข่งขันภาษาจีนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในไทย เพชรยอดมงกุฎ ครั้งที่ 16 (นานาชาติ)

80米 左右 (แต่นิยมใช้ 上下 กับความสูงมากกว่า) shēngāo 1. 80 mǐ zuǒyòu สูงประมาณ 1. 8 เมตร น้ำหนัก: 体重60 公斤 左右 tǐzhòng 60 gōngjīn zuǒyòu หนักประมาณ 60 กก. (นี่มันนนน้ำหนักสุ่ยหลินนิ!!!

สำนวนจีน: กลวิธีการใช้ภาษาของสำนวนจีน

2 อุปลักษณ์ ไม่กล่าวถึงสิ่งที่ต้องการสื่อโดยตรง แต่ใช้สิ่งหนึ่งมาอ้างแทนอีกสิ่งหนึ่ง โดยสิ่งที่นำมาแทนที่ต้องมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวซึ่งเชื่อมโยงความหมายกับสิ่งที่ต้องการสื่อได้ เช่น 情人眼里出西施 ( ในสายตาคนรักแลเห็นไซซี: เมื่อรักใครแล้ว จะรู้สึกว่าเขาดูดีไปหมด) ใช้ " ไซซี " ซึ่งเป็นสาวงามในยุคชุนชิวแทนความงาม 1. 3 บุคลาธิษฐาน พรรณนาสิ่งไม่มีชีวิต หรือสิ่งมีชีวิตอื่นที่ไม่ใช่คนให้มีลักษณะนิสัย พฤติกรรม รวมถึงความรู้สึกเหมือนคนจริงๆ เช่น 猫哭老鼠假慈悲 ( แมวร่ำไห้แก่หนู แสร้งทำเมตาสงสาร) 1. 4 กล่าวเกินจริง ใช้ถ้อยคำเกินจริงพรรณนาสิ่งที่กล่าวถึง ทำให้สื่อความหมายได้ชัดเจน กระตุ้นให้ผู้ฟังเกิดจินตนาการและอารมณ์คล้อยตาม เช่น 一手遮天 ( มือเดียวปิดฟ้า: ปิดบังความจริงไว้) ใช้โครงสร้างทางภาษา อาศัยรูปแบบคำ หรือโครงสร้างไวยากรณ์ที่สมดุลช่วยเสริมให้ความหมายของสำนวนชัดเจนเข้าใจง่าย 2. 1 แบบคู่สมดุล ใช้วลีหรือประโยคสมดุลที่โครงสร้างเหมือนกัน มีเนื้อหาสัมพันธ์กัน เช่น 前因 - 后果 ( เหตุแรก-ผลหลัง: วิถีของเรื่องราว) 2. 2 แบบเรียงร่วม ใช้วลีหรือประโยคที่มีโครงสร้างเหมือนหรือคล้ายกันตั้งแต่สามขึ้นไป เนื้อหาโดยรวมเชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียวกัน เช่น 说金子晃眼, 说银子傻白, 说铜钱腥气 ( ทองก็พร่าตา เงินก็ขาวจนเซ่อ เหรียญทองแดงก็เหม็นคาว: ไม่ละโมบอยากได้เงินทอง) 2.

  1. การแข่งขันภาษาจีนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในไทย เพชรยอดมงกุฎ ครั้งที่ 16 (นานาชาติ)
  2. Azur lane ภาษา ไทย 2
  3. การ รักษา ช่อง ปาก
1. สระเสียงเดี่ยว จำนวน 9 ตัว ได้แก่ a ออกเสียง อา o ออกเสียง ออ e ออกเสียง เออ ê ออกเสียง เอ (z-r) i ออกเสียง อือ er ออกเสียง เออร์ i ออกเสียง อี u ออกเสียง อู ü ออกเสียง อวี 2.

การศึกษาด้านวิชาชีพ การศึกษาด้านวิชาชีพหมายถึงโรงเรียนด้านวิชาชีพ รวมถึงหลักสูตรอบรมวิชาชีพระยะสั้น หลังปี 1980 เป็นต้นมา การพัฒนาด้านอาชีวะศึกษาของจีนพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ปัจจุบัน สถานการณ์การเติบโตของการศึกษาด้านอาชีพมีการเปลี่ยนแปลง คือ การศึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง พลศึกษา ศิลปกรรมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์มีแนวโน้มลดลง ในปี 2005 มีนักศึกษาในสายอาชีพที่กำลังศึกษาอยู่จำนวนประมาณ 6 ล้านคน 3. การศึกษาระดับอุดมศึกษา การศึกษาระดับอุดมศึกษาหมายถึงการศึกษาระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท รวมถึงการศึกษาระดับปริญญาทั้งหมด การศึกษาระดับอนุปริญญาใช้เวลา 2-3 ปี ระดับปริญญาตรีใช้เวลา 4 ปี แพทย์ศาสตร์ 5 ปี และยังมีบางสาขาวิชาที่ใช้เวลา 5 ปีเช่นเดียวกัน ปริญญาโทใช้เวลา 2-3 ปี ปริญญาเอกใช้เวลา 3 ปี 4.

แบ-ต-agm