มาตรฐาน สม ศ – มาตรฐาน สมศ ปฐมวัย

2542 หมวดที่ 6 ซึ่งกำหนดให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผลจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยให้ประเมินประเมินคุณภาพภายนอกแก่สถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก ๆ 5 ปี [2] จากพระราชบัญญัตินี้จึงได้มีการจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ตั้งแต่นั้นมา สมศ. จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) พ. 2543 อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี ต่อมาในปี พ. 2561 จึงได้เปลี่ยนแปลงมาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ [3] อำนาจหน้าที่ [ แก้] พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) พ.

  1. คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
  2. มาตรฐาน สมศ 15 มาตรฐาน
  3. มาตรฐาน สมศ 2564
  4. มาตรฐาน สมศ ปฐมวัย
  5. 900 มาตรฐานสมศ - gg.gg/wrinfo

คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ

ข้ามไปเนื้อหา จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) Office of Nation Education Standards and Quality Assessment (Public Organisation) ที่ทำการ 128 ถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ภาพรวม วันก่อตั้ง 4 พฤศจิกายน พ. ศ. 2543 งบประมาณ 754. 011 ล้านบาท ( พ. 2559) [1] ผู้บริหาร ดร. นันทา หงวนตัด, ผู้อำนวยการ ดร. วรวิชช ภาสาวสุวัศ, รองผู้อำนวยการ ดร. ขนิษฐา ตั้งวรสิทธิ​ชัย, รองผู้อำนวยการ ในกำกับดูแลของ กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารหลัก • พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) พ. 2543 • พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (ฉบับที่ 2) พ. 2552 เว็บไซต์ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอกของ สถานศึกษา ทุกแห่งของประเทศไทย ทั้งในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านการ อาชีวศึกษา และระดับ อุดมศึกษา ประวัติ [ แก้] สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) จัดตั้งขึ้นตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.

มาตรฐาน สมศ 15 มาตรฐาน

75) 5. 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ 5. 2 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์ 5. 3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นไปตามเกณฑ์ 5. 4 ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดี ต่ออาชีพสุจริต (4. 00) 6. 1 วางแผนการทำงาน และดำเนินการจนสำเร็จ 6. 2 ทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง 6. 3 ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 6. 4 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต และหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา 6 มาตรฐาน มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (5. 77 จากเต็ม 10) 7. 1 ครูมีการกำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ 7. 2 ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ของผู้เรียน 7. 3 ครูออกแบบ และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสติปัญญา 7. 4 ครูใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบท และภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการ จัดการเรียนรู้ 7.

มาตรฐาน สมศ 2564

การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ๒. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๒. ๑ การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้าน ทุกกลุ่มเป้าหมายและดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ๒. ๒ การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ๒. ๓ การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศ อย่างเป็นระบบ ๒. ๔ การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ๓. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ๔. การกำกับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑. การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ๒. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น ๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียน อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ มาตรฐานที่ ๔ ระบบประกันคุณภาพ คุณภาพในที่มีประสิทธิผล การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินสมศ.

มาตรฐาน สมศ ปฐมวัย

5 ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย 7. 6 ครูให้คำแนะนำ คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียน และคุณภาพชีวิตด้วยความเสมอ ภาค 7. 7 ครูมีการศึกษา วิจัย และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบและใช้ผลในการปรับการสอน 7. 8 ครูประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา 7. 9 ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (8. 66 จากเต็ม 10) 8. 1 ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นำ และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน 8. 2 ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม และใช้ข้อมูลผลการประเมิน หรือผลการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้าน วิชาการ และการจัดการ 8. 3 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ 8. 4 ผู้บริหารส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจายอำนาจ 8. 5 นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน พึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา 8. 6 ผู้บริหารให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางวิชาการ และเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพ และเต็มเวลา มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล (10 จากเต็ม 10) 9.

900 มาตรฐานสมศ - gg.gg/wrinfo

ซักซ้อม ผอ. รร. - สพท. ศธจ. รับประเมินคุณภาพแบบใหม่ ย้ำตอบคำถาม 3 ข้อ ให้ได้ เอกสารระบบงานประกันตุณภาพการศึกษา - การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา ( นางณรี สุสุทธิ) > คลิก - การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา > คลิก - การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา > คลิก - จุดเปลี่ยนและแนวทางการปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา > คลิก - แนวทางการจัดทำ SAR แนวใหม่ และการจัดลำดับคุณภาพสถานศึกษา (school grading) > คลิก - แนวทางการซักซ้อมการประเมิน (mock assessment) > คลิก - แนวทางการประเมินภายนอกรอบสี่ตามกฏกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ. 2561 > คลิก - บทบาทศึกษานิเทศก์กับกับการนิเทศด้านการประกันคุณภาพการศึกษาให้กับสถานศึกษา > คลิก - ภาพความสำเร็จกับเป้าหมายของการประกันคุณภาพการศึกษาสู่ความยั่งยืน > คลิก - มาตรฐานของสถานศึกษากับการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา > คลิก - สังเคราะห์ SARและข้อค้นพบจากการสังเคราะห์SARของสถานศึกษา > คลิก แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ > คลิก ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา (QAกับ ศน.

  • มาตรฐาน สมศ 2564
  • 30% Off - Ted Baker รหัสคูปอง เอพริล 2022
  • ปฏิทินปี 2564 Excel Archives - โรงพิมพ์ธรรมวิวัด | โรงพิมพ์ ลาดพร้าว โรงพิมพ์ สมุดโรงเรียน สมุดนักเรียน อุปกรณ์การเรียน
  • ขาย huawei nova 3i hard reset
  • ความรู้ทั่วไป เหตุการณ์ปัจจุบัน 2012 (ฉบับทันโลก ทันเหตุการณ์)
  • ทาวเวอร์ เบียร์ แม็คโคร
  • มาตรฐาน สมศ รอบ 3
  • โรงแรม พะเยา ราคา
  • ประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 4 - Chaisri Nites (Classic Site)
  • คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ

2 จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยของผู้เรียน 11. 3 จัดห้องสมุดที่ให้บริการสื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และ หรือเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วม มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่กำหนดในกฎกระทรวง (5. 00 /5. 00) 12. 1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 12. 2 จัดทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 12. 3 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศ และใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 12. 4 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 12. 5 นำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 12. 6 จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 1 มาตรฐาน) มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (6. 00/10. 00) 13. 1 มีการสร้าง และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา และใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และ ภายนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และบุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง 13.

มาตรฐาน สมศ 2564

1 คณะกรรมการสถานศึกษารู้ และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ระเบียบกำหนด 9. 2 คณะกรรมการสถานศึกษากำกับ ติดตาม ดูแล และขับเคลื่อนการดำเนินงานของสถานศึกษาให้บรรลุผล สำเร็จตามเป้าหมาย 9. 3 ผู้ปกครอง และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน อย่างรอบด้าน (8. 33 จากเต็ม 10) 10. 1 หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสม และสอดคล้องกับท้องถิ่น 10. 2 จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถ และความสนใจ 10. 3 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริม และตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และความ สนใจของผู้เรียน 10. 4 สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง 10. 5 นิเทศภายใน กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และนำผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอ 10. 6 จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อม และการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็ม ศักยภาพ (8. 66 จากเต็ม 10) 11. 1 ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาด และปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน 11.

คอน-โด-ราช-บรณะ