ธรรมะ 5 ประการ – ธรรมะกับชีวิตประจำวัน : 5 ความจริงที่ไม่มีใครหนีพ้น

ท่านเลี้ยงเรามาแล้ว ต้องเลี้ยงท่านตอบแทน ข้อนี้มิได้หมายถึงว่าแม่พ่อเลี้ยงเรามา ก็เพื่อหวังมาเอาคืนในภายหลัง ความรู้สึกนั้นไม่มีแน่นอนกับแม่พ่ออย่างแท้จริง แต่ให้เราคิดว่าถ้าเราไม่เลี้ยงท่านแล้วใครจะเลี้ยง เหมือนเช่นเราครั้งเป็นทารก ถ้าหากท่านไม่เลี้ยงเราใครจะเลี้ยง แม้นปล่อยทิ้งๆขว้างๆก็คงลำบากยากแค้นไปแล้ว ๒. ทำกิจธุระของท่าน งานของท่านที่ได้ทำมาแล้ว และยังคงดำเนินการอยู่ หรือภาระใดๆที่เกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน เป็นสิ่งที่ลูกควรต้องสอบถาม แสดงน้ำใจทั้งช่วยท่านแบ่งเบาภาระ เพราะอายุท่านก็เยอะแล้ว คนอื่นทำก็คงไม่ทำให้ท่านสบายใจได้มากเท่ากับลูกของท่าน ๓. ดำรงรักษาวงศ์สกุล ให้คงอยู่และไม่เสื่อมเสียหาย การได้กำเนิดลูกมาคนหนึ่ง อย่างน้อยก็หวังให้ได้สืบทอดวงศ์สกุล ไม่ให้สังคมได้ดูแคลนว่าลูกบ้านนั้นบ้านนี้ไปทำเสื่อมเสีย จนต้องออกมาถามว่า “ ลูกใครหนาช่างเป็นเช่นนี้ ” การที่จะให้สกุลคงอยู่ได้ลูกจึงต้องคบหาแต่เพื่อนที่ใฝ่ดี ไม่ชักชวนไปในทางเสื่อม โดยเฉพาะต้องทำหน้าที่ของตน ในเบื้องต้นคือเชื่อฟังคำสั่งสอนท่าน เรียนและศึกษาตามหน้าที่อย่างสมบูรณ์ แม้ไปทำงานจะมีครอบครัว ก็ต้องปรึกษาท่านเพื่อให้ได้มาซึงสามีภรรยาที่ดี ๔.

  1. เบญจศีล เบญจธรรม
  2. ธรรมะกับชีวิตประจำวัน : 5 ความจริงที่ไม่มีใครหนีพ้น
  3. กัลยาณธรรม 5 ประการ | thaihealthlife.com รวมสาระสุขภาพกาย และจิต

เบญจศีล เบญจธรรม

  • Writer -หน้าที่ของ “ลูก” ต้องปฏิบัติต่อแม่พ่อ ๕ ประการ
  • พละ 5 - วิกิพีเดีย
  • หลักธรรมสำหรับครู - ครูเชียงราย
  • ตู้ เอกสาร ikea
swisscard login miles and more

เบญจศีลและเบญจธรรม เป็นธรรมคู่กัน คนที่มีเบญจธรรมจึงจะเป็นผู้มีเบญจศีล ซึ่งหากคนมีศีลและธรรมดังกล่าวแล้ว จะเว้นจากการทำความชั่ว รู้จักควบคุมตนให้ตั้งอยู่ในความดี ไม่เบียดเบียนตนและคนอื่น และประพฤติชอบทางกาย วาจา และใจ จะทำให้อยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข เบญจศีล หมายถึง ศีล 5 ข้อ เป็นการรักษาเจตนาที่จะควบคุมกาย และวาจาให้เป็นปกติ คือ ไม่ทำบาป โดยการละเว้น 5 ประการ คือ ละเว้นจากการฆ่าสัตว์ ละเว้นจากการลักขโมย ละเว้นจากการประพฤติผิดในกาม ละเว้นจากการพูดปด ละเว้นจากการเสพสุรา เบญจศีล เป็นเครื่องรักษาเจตนาที่จะควบคุมกาย และวาจาให้เป็นปกติ คือ ไม่ทำบาป โดยการละเว้น 5 ประการ คือ 1. ปาณาติบาต คือ ละเว้นจากการฆ่าสัตว์ และการเบียดเบียนสัตว์ 2. อทินนาทาน คือ ละเว้นจากการลักขโมย ปล้นจี้ ฉกชิง วิ่งราว เป็นต้น 3. กาเมสุมิจฉาจาร คือ ละเว้นจากการประพฤติผิด ล่วงละเมิดลูกเมียผู้อื่น 4. มุสาวาท คือ ละเว้นจากการพูดปด พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ พูดส่อเสียด 5. สุราเมระยะ คือ ละเว้นจากการเสพสุรา เพราะเป็นสาเหตุให้ทำผิดศีลข้อ อานิสงส์ของการรักษาศีล 1. ทำให้มีความสุขกายสุขใจ ทำให้ไม่เป็นคนหลงลืมสติ 2.

ธรรมะกับชีวิตประจำวัน : 5 ความจริงที่ไม่มีใครหนีพ้น

ความประมาท 5 ประการ ที่ชาวพุทธควรหลีกเลี่ยง บทความดีๆ จากท่าน ว. วชิรเมธี บทความเกี่ยวกับ ความประมาท 5 ประการนี้ ตัดตอนมาจากบทความ "มรณานุสติภาวนา" เขียนโดย ท่าน ว. วชิรเมธี ท่านว. วชิรเมธี กล่าวว่า พระพุทธองค์ทรงสอนให้เราหมั่นระลึกถึงความตาย ไม่ใช่เพื่อจะให้กลัวตายแต่เพื่อที่จะให้เรารู้จักที่จะดำรงชีวิตอยู่ในปัจจุบันขณะอย่างดีที่สุด หัวใจของการดำรงชีวิตอยู่อย่างดีที่สุดก็คือ การดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่ประมาท ไม่ประมาทในอะไรเล่า… 1. ไม่ประมาทในชีวิต ว่าจะยืนยาว 2. ไม่ประมาทในวัย ว่ายังหนุ่มสาว 3. ไม่ประมาทในสุขภาพ ว่ายังแข็งแรง 4. ไม่ประมาทเวลา ว่ายังมีอีกมาก 5.
วชิรเมธี มีคำตอบ หากเจออย่างนั้น ให้คิดอย่างนี้! ข้อคิดสู่ชีวิตเป็นสุข จาก ท่านว. วชิรเมธี เลี้ยงลูกอย่างไรไม่ให้แว้ง "กัด" พ่อแม่ บทความดีๆ จาก ท่าน ว. วชิรเมธี หัวใจแห่งการรับใช้เพื่อนมนุษย์ บทความธรรมะดี ๆ โดย ท่าน ว. วชิรเมธี ไหว้พระ ไม่ ถูกพระ แต่ ถูกไสย บทความธรรมะดีๆ จาก ท่าน ว. วชิรเมธี
ธรรมะ 4 ประการ

กัลยาณธรรม 5 ประการ | thaihealthlife.com รวมสาระสุขภาพกาย และจิต

การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบ 2. การประหยัด อดออม 3. การมีระเบียบวินัย และเคารพกฏหมาย 4. การปฏิบัติตามคุณธรรมทางศาสนา 5. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ค่านิยมไทย 12 ประการ การสร้างค่านิยมหลักของคนไทย ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช. ) เพื่อสร้างสรรค์ประเทศไทยให้เข้มแข็ง โดยต้องสร้างคนในชาติ ให้มีค่านิยมไทย 12 ประการ (15ก. ค. 2557) 1. มีความรักชาติ ศาสนา 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย 8. มีระเบียบ วินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ 9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทำ 10. รู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ 12. คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง รบกวนคลิกให้คะแนนโพสต์นี้ด้วยครับ [รวม: 0 เฉลี่ย: 0]

ใช้จ่ายเพื่อทำพลี 5 อย่าง คือ สงเคราะห์ญาติ, ต้อนรับแขก, บำรุงราชการ (เสียภาษี), บำรุงเทวดา (สิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามประเพณีของสังคม) และทำนุบำรุงให้บุพการีผู้ล่วงลับไปแล้ว 5. ใช้จ่ายเพื่ออุปถัมภ์บำรุงนักบวช พระภิกษุสงฆ์ผู้ทรงศีล และกิจการพระศาสนา อริยวัฑฒิ 5 อริยวัฑฒิ หมายถึง หลักปฏิบัติที่นำไปสู่ความเจริญงอกงาม หรือความเป็นอารยชน หรือความเป็นคนดีในอุดมคติ ซึ่งจะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติ 5 ประการ ดังนี้ ศรัทธา (งอกงามด้วยศรัทธา) หมายถึง มีความเชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ เชื่อด้วยปัญญาและเหตุผล เช่น เชื่อว่าบุญบาปมีจริง เชื่อในผลของกรรม และเชื่อมั่นในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ศีล (งอกงามด้วยศีล) หมายถึง รักษากายและวาจาให้เรียบร้อยเป็นปกติ ในทางปฏิบัติคือการรักษาศีล 5 หรือ ศีล 8 ของชาวพุทธทั่วไป 3. สุตะ (งอกงามด้วยสุตะ) หมายถึงความรู้ที่ได้ยินได้ฟัง หรือการศึกษาหาความรู้ด้วยการฟังซึ่งรวมถึงการอ่านหนังสือและใช้สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการแสดงหาความรู้อีกด้วย 4. จาคะ (งอกงามด้วยจาคะ) หมายถึง รู้จักเสียสละ แบ่งปันสิ่งของให้แก่ผู้อื่น ปัญญา (งอกงามด้วยปัญญา) หมายถึง มีความรู้อย่างกว้างขวาง รู้ชัดเจน และรู้จริง เป็นความรู้ทั้งในวิชาชีพ วิชาสามัญ หรือรู้เท่าทันโลก ทิฏฐธัมิกัตถประโยชน์ ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ หมายถึง ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ในปัจจุบัน หรือหลักปฏิบัติที่จะอำนวยประโยชน์สุขแก่บุคคลมี 4 ประการ คือ 1.

เรามีความแก่เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ 2. เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้ 3. เรามีความเจ็บตายเป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ 4. เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น 5.

5 สิ่งที่ทำให้เกิด วินาทีบรรลุธรรม โดย ณัฐพบธรรม คนส่วนใหญ่มักจะเข้าใจว่า วินาทีบรรลุธรรมนั้นจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อเราได้ปฏิบัติธรรมตามรูปแบบ ด้วยการนั่งสมาธิ หรือเดินจงกรมเท่านั้น แต่ความจริงเป็นอย่างไรลองมาดูกันครับ ในพระไตรปิฎกได้อธิบายไว้ว่า สิ่งที่จะทำให้เกิดวินาทีบรรลุธรรมได้ มีอยู่ 5 อย่าง คือ 1. การฟังธรรม หมายถึง การได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าโดยตรง หรือฟังธรรมของพระพุทธเจ้าผ่านการถ่ายทอดของผู้มีปัญญามาก แล้วเข้าใจในธรรมนั้น ทำให้ในใจเกิดความปราโมทย์ ความปีติ ความสงบ ความสุข และจิตตั้งมั่น (ตามลำดับ) จนบรรลุธรรมในที่สุด การฟังธรรมนี้มีข้อสังเกตอยู่อย่างหนึ่งว่า ธรรมที่ฟังต้องเป็นธรรมของพระพุทธเจ้าเท่านั้น การได้ฟังธรรมที่ผู้อื่นคิดขึ้นเอง หรือเป็นเพียงคำพูดที่เน้นความสนุกสนาน เน้นภาษาที่สวยงาม แต่ไม่เข้าถึงแก่นธรรมของพระพุทธเจ้า การฟังธรรมนั้นย่อมไม่อาจทำให้เกิดวินาทีบรรลุธรรมขึ้นได้ 2. การแสดงธรรม หมายถึง การได้ศึกษาธรรมของพระพุทธเจ้า แล้วนำบทธรรมนั้นไปบรรยายให้ผู้อื่นเข้าใจ โดยในขณะที่บรรยายไปก็ได้พิจารณาบทธรรมที่พูดไปด้วย จนเกิดความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง และเกิดความปราโมทย์ ความปีติ ความสงบ ความสุข และจิตตั้งมั่น (ตามลำดับ) แล้วบรรลุธรรมในที่สุด ทั้งนี้ ผู้บรรยายต้อง พูดเฉพาะสิ่งที่เป็นธรรมของพระพุทธเจ้า และต้องเข้าใจสิ่งที่กล่าวออกไปอย่างแท้จริง พร้อมกับพิจารณาตามไปด้วย จึงจะมีโอกาสบรรลุธรรมได้ การบรรยายธรรมที่คิดขึ้นเอง หรือบรรยายเพื่อเน้นความสนุกสนาน ย่อมไม่อาจทำให้เกิดวินาทีบรรลุธรรมขึ้นได้ 3.

คอน-โด-ราช-บรณะ